“ผู้ใดยึดในทุกข์ ก็จะประดุจโดนงูเห่ากัด
ผู้ใดยึดในสุขก็เสมือนจับงู เห่าข้างหาย
และจะโดนมันแว้งกัดเอาในภาย หลัง”
ผู้ใดยึดในสุขก็เสมือนจับงู
และจะโดนมันแว้งกัดเอาในภาย
ดังนั้น ความสุขกับความทุกข์ อารมณ์ชอบใจกับไม่ชอบใจนั้น
ต่ออารมณ์ที่รุนแรงแล้ว เราย่อมจะเป็นผู้อยู่เหนืออ ารมณ์ ด้วยจิตที่รู้ ตื่น และเบิกบาน รู้ว่า โลกธรรม ๘ เกิดขึ้นแล้วก็จะดับไป โดยที่ใจของเราไม่เกิดความห วั่นไหวคล้อยตามไปด้วย เปรียบเหมือนเราอยู่ในบ้านท ี่ปลอดภัย และอบอุ่น ไม่ว่าโลกภายนอกจะเป็นอย่าง ไร ฝนจะตกหรือแดดจะออก อากาศจะร้อน หรือหนาว บรรยากาศจะสงบนิ่งหรือมีพาย ุจัดเราเพียงแต่มองดูความเป ็นไปจากทางหน้าต่างเท่านั้น
โลกธรรมที่เกิดขึ้นกับเราก็ เหมือนธรรมชาติ เหมือนลมฟ้าอากาศ เป็นสิ่งไม่อยู่ในอำนาจการค วบคุมของเรา เราทำได้แต่เพียงพิจารณาให้ เห็นตามความเป็นจริง แล้วปล่อยให้เป็นไปตามธรรมช าติอย่างนั้น
แต่บางครั้งบ้านของเราก็เกื อบจะพังเหมือนกัน เสื่อมลาภ เสื่อมยศ ถูกนินทา ได้รับทุกข์ บางครั้งเราก็ถูกกระทบจากสิ ่งเหล่านี้อย่างรุนแรง แต่เราก็ต้องอดทน และให้เวลาเป็นเครื่องแท้แม ้จะเกิดความฟุ้งซ่านวุ่นวาย ความเดือนร้อนใจเพียงใดก็ตา มให้ตั้งสติ พิจารณาทบทวนความคิดของตัวเ องให้ถูกต้อง
โลกธรรมที่เกิดขึ้นกับเราก็
แต่บางครั้งบ้านของเราก็เกื
ที่มา. หนังสือ ๓๖ พรรษาพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก
โดย. พระอาจรย์มิตซูโอะ คเวสโก
เรื่อง – ภาพ จากอินเทอร์เนต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น